ไทยต้องเร่งรีบระบบรางให้เร็วที่สุดเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจไทย

ไทยต้องเร่งรีบระบบราง สำหรับรถไฟสายจีนกับสปปลาว ถือว่าเป็นโครงการที่มีความสำคัญภายใต้ความร่วมมือของทั้งสองประเทศและเมื่อรถไฟแล่นจากคุนหมิงไปถึงที่เวียงจันทน์แล้วภูเขาสูงกับระยะทางก็จะไม่ไกลกันอีกต่อไป 

ซึ่งโครงการนี้ได้กลายเป็นโครงการต้นแบบเพื่อที่จะสร้างสายแถบและสายเส้นทางที่มีคุณภาพในอนาคตซึ่งในไม่กี่ปีที่ผ่านมาทางการจีนได้ยกระดับเทคโนโลยีในการก่อสร้างและนำมาซึ่งผลประโยชน์แบบชนะทุกฝ่ายและถือว่าเป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจโลกต่อไปในอนาคต 

และการเปิดให้บริการของรถไฟเส้นทางสปปลาวกับจีนก็ได้ทำให้ประเทศไทยเร่งในการปรับตัวปรับกลยุทธ์ทั้งในด้านของการขนส่งสินค้าทางรางรวมไปถึงเร่งโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงระยะที่ 2 ไทยจีนไปถึงจังหวัดหนองคาย 

รถไฟลาว- จีนได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการไปแล้วเรียบร้อยเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2564 ที่ผ่านมาสิ่งประสาทสำคัญขอเส้นทางนี้คือการขนส่งสินค้า เพราะเริ่มต้นมีการวางตารางเดินรถสำหรับขนส่งสินค้าถึง 5 เที่ยว ต่อวันรองลงมาคือการขนส่งคนการเดินทางการท่องเที่ยวอยู่ที่ 2 เที่ยวต่อวัน 

ดังนั้นเส้นทางรถไฟนี้จึงสำคัญต่อการเชื่อมต่อกันในการขนส่งสินค้ามายังประเทศไทยปัจจุบันในการขนส่งผ่านชายแดนจากลาวมายังประเทศไทยมีอยู่ 3 จุดคือ ด่านเชียงของด่านมุกดาหารด่านนครพนม ซึ่งเมื่อเปิดรถไฟลาว- จีน เพิ่มการขนส่งมาที่สะพานมิตรภาพไทยลาวตรงจังหวัดหนองคายเป็นทางเลือกที่ 4 ให้กับผู้ประกอบการขนส่งสินค้า ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศและนครเวียงจันทน์สปปลาว 

ได้กล่าวว่าในช่วงแรกผู้ประกอบการคงต้องประเมินต้นทุนในการขนส่งโลจิสติกส์ที่เกิดขึ้นเส้นทางใหม่และเก่านำเอามาเทียบกันเพื่อเป็นการแบ่งสัดส่วนจากปริมาณการขนส่งจากเส้นทางเดินมาก่อน แต่ในอนาคตคาดการณ์ว่าจะสร้างการเติบโตการขนส่งสินค้าระหว่างไทยลาวและจีนมากขึ้น

เพราะมีสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศจีนได้ส่งมายังประเทศไทยและผลไม้ประเทศไทยที่ส่งไปยังประเทศจีน เรามองว่าจะเป็นอีกเส้นทางหนึ่งที่เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าไปจีนได้สะดวกยิ่งขึ้น

แต่อย่างไรก็ตามการขนส่งระหว่างรถไฟลาวจีนที่มีขนาดราง 1.435 เมตรและขนาดของไทยราง 1 เมตรปัจจุบันจบอยู่ที่ท่านาแล้งและยังต้องมีการยกถ่ายเปลี่ยนสินค้าระหว่างขบวนรถมีค่าธรรมเนียมและเวลาที่เกิดขึ้นเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดต้นทุนผู้ประกอบการพิจารณาเข้าไปด้วย

ซึ่งในส่วนของกรมคมนาคมการรถไฟแห่งประเทศไทยได้เพิ่มปริมาณเที่ยววิ่งขนส่งสินค้าจากสถานีท่านาแล้งเข้าสู่ประเทศไทยจากเดิมวันละ 4 ขบวนเพิ่มไปเป็น 10 ขบวน เพื่อรองรับสินค้าที่จะเพิ่มขึ้นรวมทั้งจะมีการติดตามและแก้ไขอุปสรรคที่ส่งผลกระทบต่อการขนส่งในเส้นทางนี้ 

พร้อมกันนี้คณะทำงานจะเจรจาทั้ง 3 ฝ่ายจีนลาวไทยได้ตกลงร่วมกันในการก่อสร้างสะพานเชื่อแม่น้ำโขงแห่งที่ 2จะให้บริการเฉพาะระบบรางเท่านั้น เพื่อเพิ่มขนส่งการจัดส่งทางราง

 

สนับสนุนโดย.    aesexy